ประวัติ AEC

 ประวัติการก่อตั้งอาเซียน

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ธงอาเซียน

           อาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East AsianNations หรือ  ASEAN) ก่อตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) ซึ่งได้มีการลงนามที่วังสราญรมย์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสมาชิกก่อตั้ง 5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ และ ไทย ซึ่งผู้แทนทั้ง 5 ประเทศ ประกอบด้วย

            - นายอาดัม มาลิก (รัฐมนตรีต่างประเทศอินโดนีเซีย)
            
            - นายตุน อับดุล ราชัก บิน ฮุสเซน (รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีกลาโหมและรัฐมนตรีกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติมาเลเซีย)

            - นายนาซิโซ รามอส (รัฐมนตรีต่างประเทศฟิลิปปินส์)


            - นายเอส ราชารัตนัม (รัฐมนตรีต่างประเทศสิงค์โปร์)
            - พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย)

         

ประเทศไทย 



ชื่อทางการ   : ราชอาณาจักรไทย (The Kingdom of Thailand)
เมืองหลวง    : กรุงเทพมหานคร (Bangkok)
พื้นที่              : พื้นที่ประมาณ 513,115 ตารางกิโลเมตร
ประชากร      : จำนวนประชากรประมาณ 66 ล้านคน
ภาษาประจำชาติ     : ภาษาไทย
ภาษาราชการ         : ภาษาไทย
สกุลเงิน        : บาท
ดอกไม้ประจำชาติ   : ดอกราชพฤกษ์ (Ratchaphruek)
สัตว์ประจำชาติ        : ช้าง
อาหารขึ้นชื่อ  : ต้มยำกุ้ง (Tom Yam Goong)
สถานที่สำคัญ  : วัดพระธาตุดอยสุเทพ

















ประเทศลาว 


ชื่อทางการ   : สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ตัวย่อ: สปป.ลาว) (The Lao People’s Democratic Republic)
เมืองหลวง    : เวียงจันทร์ (Vientiane)
พื้นที่             : พื้นที่ประมาณ 236,800 ตารางกิโลเมตร
ภาษาประจำชาติ     : ภาษาลาว
ภาษาราชการ         : ภาษาลาว
สกุลเงิน        : กีบ (อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 กีบ = 3.84 บาท)
ดอกไม้ประจำชาติ   : ดอกจำปาลาว (Dok Champa)
สัตว์ประจำชาติ        : ช้างอินเดีย
อาหารขึ้นชื่อ  : สลัดหลวงพระบาง
สถานที่สำคัญ  : วังเวียน







ประเทศกัมพูชา


ชื่อทางการ   : ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia)
เมืองหลวง    : พนมเปญ (Phnom Penh)
พื้นที่              : พื้นที่ประมาณ 181,035 ตารางกิโลเมตร
ประชากร      : จำนวนประชากรประมาณ 14.13 ล้านคน
ภาษาประจำชาติ     : ภาษากัมพูชา
ภาษาราชการ         : ภาษากัมพูชา
สกุลเงิน        : เรียล (อัตราแลกเปลี่ยน 125 เรียล = 1 บาท)
ดอกไม้ประจำชาติ   : ดอกลำดวน (Rumdul)
สัตว์ประจำชาติ        : กูปรี
อาหารขึ้นชื่อ  : อาม็อก
สถานที่สำคัญ    : อังกอร์วัด






ประเทศเมียนมาร์


ชื่อทางการ   : สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ (Republic of the Union of the Myanmar)
เมืองหลวง    : เนปิดอว์ (Nay Pyi Taw) (เมืองหลวงเดิม คือ ย่างกุ้ง)
พื้นที่              : พื้นที่ประมาณ 657,740 ตารางกิโลเมตร
ประชากร      : จำนวนประชากรประมาณ 55 ล้านคน
ภาษาประจำชาติ     : ภาษาเมียนมาร์
ภาษาราชการ          : ภาษาเมียนมาร์
สกุลเงิน        : จ๊าด (อัตราแลกเปลี่ยน 1000 จ๊าด = 23.81 บาทไทย)
ดอกไม้ประจำชาติ   : ดอกประดู่ (Paduak)
สัตว์ประจำชาติ        : เสือ
อาหารขึ้นชื่อ  : หล่าเพ็ด
สถานที่สำคัญ    : มหาเจดีย์ชเวดากอง





ประเทศเวียดนาม



ชื่อทางการ   : สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam)
เมืองหลวง    : ฮานอย (Hanoi)
พื้นที่            : พื้นที่ประมาณ 331,690 ตารางกิโลเมตร
ประชากร      : จำนวนประชากรประมาณ 86 ล้านคน
ภาษาประจำชาติ     : ภาษาเวียดนาม
ภาษาราชการ         : ภาษาเวียดนาม
สกุลเงิน        : ด่ง (อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 ด่ง = 1.41 บาทไทย)
ดอกไม้ประจำชาติ   : ดอกบัว (Lotus)
สัตว์ประจำชาติ        : มังกร
อาหารขึ้นชื่อ  : เปาะเปี๊ยะเวียดนาม
สถานที่สำคัญ    : ฮาลอง เบย์





ประเทศบรูไน



ชื่อทางการ   : บรูไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam)
เมืองหลวง    : บันดาร์เสรีเบกาวัน (Bandar Seri Begawan)
พื้นที่            : พื้นที่ประมาณ 5,765 ตารางกิโลเมตร
ประชากร      : จำนวนประชากรประมาณ 401,890 คน
ภาษาประจำชาติ     : ภาษามาเลย์ (Bahasa Melaysia)
ภาษาราชการ         : ภาษามาเลย์ (Bahasa Melaysia)
สกุลเงิน        : ดอลลาร์บรูไน (อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์บรูไน = 24.41 บาท)
ดอกไม้ประจำชาติ   : ซิมปอร์ (Simpor)
สัตว์ประจำชาติ        : เสือโคร่ง
อาหารขึ้นชื่อ  : อัมบูยัต
สถานที่สำคัญ    : มัสยิดโอมาร์ อาลี ไซฟัดดิน






ประเทศอินโดนีเซีย


ชื่อทางการ   : สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)
เมืองหลวง    : จาการ์ตา (Jakarta)
พื้นที่              : พื้นที่ทั้งหมดประมาณ 5,070,606 ตารางกิโลเมตรแบ่งเป็นพื้นที่ทางบก 1,904,443 ตารางกิโลเมตร และพื้นที่ทางทะเล 3,166,163 ตารางกิโลเมตร
ประชากร      : ประชากรประมาณ 245 ล้านคน
ภาษาประจำชาติ     : ภาษาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia)
ภาษาราชการ         : ภาษาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia)
สกุลเงิน        : รูเปียห์ (อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 รูเปียห์ = 2.29 บาท)
ดอกไม้ประจำชาติ   : ดอกกล้วยไม้ราตรี (Moon Orchid)
สัตว์ประจำชาติ        : มังกรโคโมโด
อาหารขึ้นชื่อ  : กาโด กาโด
สถานที่สำคัญ    : วิหารอันดาลานูบราตัน บาหลี






ประเทศสิงคโปร์

ชื่อทางการ   : สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore)
เมืองหลวง    : สิงคโปร์ (Singapore)
พื้นที่              : พื้นที่ทั้งหมดประมาณ 697 ตารางกิโลเมตร
ประชากร      : จำนวนประชากรประมาณ 5.08 ล้านคน
ภาษาประจำชาติ     : ภาษามาเลย์ หรือ ภาษามลายู
ภาษาราชการ         : อังกฤษ จีน มาเลย์ และภาษาทมิฬ
สกุลเงิน        : ดอลลาร์สิงคโปร์ (อัตราแลกเปลี่ยน 1 เปโซ = 0.61 บาท)
ดอกไม้ประจำชาติ   : ดอกกล้วยไม้แวนด้า (Vanda Miss Joaquim)
สัตว์ประจำชาติ        : สิงโต
อาหารขึ้นชื่อ  : ลักซา
สถานที่สำคัญ    : มารีนา เบย์ แซนด์








ประเทศมาเลเซีย


ชื่อทางการ   : สหพันธรัฐมาเลเซีย (Federation of Malaysia)
เมืองหลวง    : กัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur)
พื้นที่              : พื้นที่ประมาณ 329,758 ตารางกิโลเมตร
ประชากร      : จำนวนประชากรประมาณ 28.3 ล้านคน
ภาษาประจำชาติ     : ภาษามาเลย์ (Bahasa Malaysia) หรือมลายู
ภาษาราชการ         : ภาษามาเลย์ 
สกุลเงิน        : ริงกิต (อัตราแลกเปลี่ยน 1 ริงกิตมาเลเซีย = 8.05 บาท)
ดอกไม้ประจำชาติ   : ดอกพู่ระหง (Bunga Raya)
สัตว์ประจำชาติ        : เสือมลายู
อาหารขึ้นชื่อ  : นาซิ เลอมัก
สถานที่สำคัญ    : เกาะปีนัง






ประเทศฟิลิปปินส์


ชื่อทางการ   : สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines)
เมืองหลวง    : มะนิลา (Manila)
พื้นที่              : 
พื้นที่ทั้งหมดประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (เป็นพื้นดิน 298,170 ตารางกิโลเมตร)
ประชากร      : 
จำนวนประชากรประมาณ 94 ล้านคน
ภาษาประจำชาติ     : 
ภาษาฟิลิปิโน
ภาษาราชการ         : 
ภาษาฟิลิปิโน และภาษาอังกฤษ
สกุลเงิน        : เปโซ (อัตราแลกเปลี่ยน 1 เปโซ = 0.61 บาท)
ดอกไม้ประจำชาติ   : 
ดอกพุดแก้ว (Sampaguita Jasmine)
สัตว์ประจำชาติ        : 
นกอินทรีฟิลิปปินส์
อาหารขึ้นชื่อ  : อโดโบ้
สถานที่สำคัญ    : ช็อคโกแลตฮิลล์










ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

โครงงาน น้ำอัญชันมะนาวเพื่อสุขภาพ

อาหารประจำชาติญี่ปุ่น

ฤดูในประเทศญี่ปุ่น